ผลของสูตรปุ๋ยอินทรีย์จากก้อนเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้งต่อธาตุอาหาร
The Effect of Organic Fertilizer Formula from Sajor-caju Mushroom (Pleurotus sajor-caju) Waste on Macronutrients
dc.contributor.author | Sriubol Thongpradistha | ศรีอุบล ทองประดิษฐ์ | en_US |
dc.contributor.author | Teerapong Muadsri | ธีระพงค์ หมวดศรี | en_US |
dc.contributor.author | Adulsman Sukkaew | อดุลย์สมาน สุขแก้ว | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-08-28T02:12:08Z | |
dc.date.available | 2020-08-28T02:12:08Z | |
dc.date.issued | 2020 | |
dc.identifier.issn | 2673-0197 | |
dc.identifier.uri | https://www.repository.rmutsv.ac.th/handle/123456789/1028 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสูตรปุ๋ยอินทรีย์จากก้อนเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้งที่มีธาตุอาหาร (N, P, K) มากที่สุดหลังการหมัก และสูตรใช้ก้อนเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้งปริมาณมากที่สุดจากสูตรปุ๋ยอินทรีย์จากก้อนเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้งจำนวน 5 สูตร โดยใช้ปริมาณก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้งจำนวน 5 ระดับ คือ ร้อยละ 50, 60, 70, 80 และ 90 ผสมกับส่วนผสมระหว่างมูลไก่และมูลวัวจำนวน 5 ระดับ คือ ร้อยละ 50, 40, 30, 20 และ 10 ผลการวิจัยพบว่า สูตรปุ๋ยอินทรีย์จากก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้งที่มีธาตุอาหารมากที่สุดหลังการหมัก และสูตรที่ใช้ก้อนเชื้อเห็ดเหลือทิ้งปริมาณมากที่สุด คือ สูตรปุ๋ยอินทรีย์จากก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้งสูตรที่ 2 ซึ่งมีธาตุอาหาร N, P และ K เท่ากับร้อยละ 2.28, 2.63 และ 3.82 ตามลำดับ และใช้ก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้งร้อยละ 60 โดยจัดอยู่ในเกณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่ดีที่กรมพัฒนาที่ดินได้กำหนดไว้ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Rajamangala University of Technology Srivijaya | en_US |
dc.subject | ปุ๋ยอินทรีย์ | en_US |
dc.subject | ก้อนเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้ง | en_US |
dc.subject | ธาตุอาหาร | en_US |
dc.subject | Macronutrients | en_US |
dc.title | ผลของสูตรปุ๋ยอินทรีย์จากก้อนเห็ดนางฟ้าเหลือทิ้งต่อธาตุอาหาร | en_US |
dc.title | The Effect of Organic Fertilizer Formula from Sajor-caju Mushroom (Pleurotus sajor-caju) Waste on Macronutrients | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |