Show simple item record

The Development of Tile Roof from Disposal Materials

dc.contributor.authorNantachai Chusilp | นันทชัย ชูศิลป์en_US
dc.contributor.authorChuthamat Laksanakit | จุฑามาศ ลักษณะกิจen_US
dc.contributor.authorPornarai Boonrasi | พรนรายณ์ บุญราศรีen_US
dc.contributor.authorChumroon Somboon | จำรูญ สมบูรณ์en_US
dc.contributor.authorTaweesak Thongkun | ทวีศักดิ์ ทองขวัญen_US
dc.date.accessioned2020-09-02T04:25:23Z
dc.date.available2020-09-02T04:25:23Z
dc.date.issued2019
dc.identifier.issn2673-0197
dc.identifier.urihttps://www.repository.rmutsv.ac.th/handle/123456789/1074
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตแผ่นมุงหลังคาจากวัสดุเหลือใช้เพื่อเป็นทางเลือกในการก่อสร้างต้นทุนต่ำ โดยนำกระดาษเหลือทิ้งมาสกัดเป็นเยื่อกระดาษและเส้นใยปาล์มจากส่วนก้านใช้แทนมวลรวมผสมกับปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 การทดสอบคุณสมบัติทางวิศวกรรมพบว่ากำลังรับแรงอัดและกำลังรับแรงดัดแปรผกผันตามปริมาณเยื่อกระดาษและค่าสัดส่วนน้ำต่อซีเมนต์ (W/C) การเพิ่มขึ้นของปริมาณเยื่อกระดาษและ W/C ส่งผลให้กำลังรับแรงอัดและแรงดัดลดลง อัตราส่วนที่มีการผสมเส้นใยปาล์มน้ำมันทำให้กำลังรับแรงดัดสูงขึ้นเพราะรูปร่างที่เป็นเส้นของเส้นใยปาล์มน้ำมันช่วยยึดรั้งส่วนผสมได้ดีกว่าเมื่อรับแรงดัด นอกจากนี้อัตราส่วนผสมแบบมีเส้นใยปาล์มสามารถต้านทานความร้อนได้ดีกว่าแบบไม่มีเส้นใยปาล์มน้ำมัน ร้อยละโดยน้ำหนักซีเมนต์ของปริมาณกระดาษ เส้นใยปาล์มน้ำมัน และค่า W/C ที่เหมาะสมในการผลิตแผ่นมุงหลังคาผสมวัสดุเหลือทิ้งคือ 15 1.0 และ 0.8 ตามลำดับen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherRajamangala University of Technology Srivijayaen_US
dc.subjectแผ่นมุงหลังคาen_US
dc.subjectวัสดุเหลือทิ้งen_US
dc.subjectเยื่อกระดาษen_US
dc.subjectเส้นใยปาล์มน้ามันen_US
dc.subjectoil palm fiberen_US
dc.titleการพัฒนาแผ่นมุงหลังคาจากวัสดุเหลือทิ้งen_US
dc.titleThe Development of Tile Roof from Disposal Materialsen_US
dc.typeResearch Articleen_US


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record