Show simple item record

The Study materials designed interior with rubber leaves

dc.contributor.authorPhitsanu Anucharn | พิษณุ อนุชาญen_US
dc.contributor.authorNgampetch Ampornwattanapong | งามเพชร อัมพรวัฒนพงศ์en_US
dc.date.accessioned2020-03-30T05:06:33Z
dc.date.available2020-03-30T05:06:33Z
dc.date.issued2017
dc.identifier.urihttps://www.repository.rmutsv.ac.th/handle/123456789/142
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับใบยางพารา สำหรับนำมาเป็นแนวทางในผลิตเป็นวัสดุตกแต่งอาคาร ใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบเพื่อพัฒนารูปแบบให้รองรับการตกแต่งภายในอาคาร การแปรรูปใบยางพารา มี 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 หมักแช่ทิ้งไว้ 3 เดือน วิธีที่ 2 ต้มในน้ำที่ผสมโซดาไฟ น้ำ 5 ลิตร ต่อ โซดาไฟ 500 กรัม ใช้เวลาต้ม 3 ชั่วโมง ใช้อุณหภูมิในการต้มคงที่ 100 องศาเซลเซียส การทดลองวัสดุ แบ่งได้ 3 วิธี คือ วิธีที่ 1 ใช้น้ำยางพารา วิธีที่ 2 ใช้กาวน้ำผสมน้ำ วิธีที่ 3 ใช้ยูนีเทน ผลการวิจัย พบว่า ประโยชน์จากใบยางพารา ส่วนใหญ่นำไปประดิษฐ์เป็นดอกไม้ ผีเสื้อ โคมไฟ กระดาษห่อสบู่ กระดาษจากเนื้อเยื่อใบยาง สำหรับการนำมาเป็นแนวทางในการผลิตเป็นวัสดุตกแต่งอาคารนั้น ผู้วิจัยได้ออกแบบฉากบังตาด้วยใบยางพารา โดยเลือกใช้กาวน้ำผสมน้ำเป็นตัวประสาน เนื่องจากใบยางมีการประสานได้ดี โปร่งแสง อากาศทะลุผ่านได้ดี มีความยึดหยุ่น มีพื้นผิวใกล้เคียงธรรมชาติมากที่สุดen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherRajamangala University of Technology Srivijayaen_US
dc.subjectใบยางพาราen_US
dc.subjectยางพาราen_US
dc.subjectวัสดุตกแต่งอาคารen_US
dc.subjectRubber leavesen_US
dc.subjectRubberen_US
dc.subjectBuilding decoration materialsen_US
dc.titleการศึกษาออกแบบวัสดุตกแต่งภายในอาคารด้วยใบยางพาราen_US
dc.titleThe Study materials designed interior with rubber leavesen_US
dc.typeResearch Reportsen_US


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record