การค้นหาอัตลักษณ์ของชุมชนเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบสถาปัตยกรรมและผังภูมิทัศน์ชุมชน พื้นที่ลุ่มน้้าปะเหลียน จังหวัดตรัง
Finding identity of community to architectural and urban landscape design guideline of Palian River Trang Province
dc.contributor.author | Satinee Wattanakit | สาทินี วัฒนกิจ | en_US |
dc.contributor.author | Nattaneeporn Noisangiam | ณัฐนีภรณ์ น้อยเสงี่ยม | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-03-31T00:51:26Z | |
dc.date.available | 2020-03-31T00:51:26Z | |
dc.date.issued | 2018 | |
dc.identifier.uri | https://www.repository.rmutsv.ac.th/handle/123456789/147 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยฉบับนี้เป็นงานวิจัยแบบผสมผสานเชิงคุณภาพ และการสารวจพื้นที่และเก็บข้อมูล มุ่งเน้นศึกษาการค้นหาอัตลักษณ์ของชุมชนลุ่มน้าปะเหลียน ซึ่งประกอบไปด้วย 3 อาเภอ คือ อาเภอกันตัง อาเภอย่านตาขาว และอาเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง โดยมีวัตถุประสงค์ในการวิจัย คือ 1) ศึกษาและรวบรวมข้อมูลทางกายภาพรวมถึงสภาพแวดล้อมพื้นที่ลุ่มน้าปะเหลียน จังหวัดตรัง 2) ศึกษาแนวคิดด้านอัตลักษณ์ชุมชน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการออกแบบสถาปัตยกรรมชุมชน พื้นที่สาธารณะเพื่อรองรับการท่องเที่ยว ในพื้นที่ลุ่มน้าปะเหลียน จังหวัดตรัง งานวิจัยนี้เป็นการเก็บข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกและตรวจสอบปรากฎการณ์ของประเด็นการศึกษาด้วยการสารวจพื้นที่ สัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ และผู้นาท้องถิ่น โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อระบุพื้นที่ศึกษา โดยใช้เกณฑ์การค้นหาอัตลักษณ์ ดังนี้ เกณฑ์ด้านกายภาพ เกณฑ์ด้านวิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณี และความเชื่อ เกณฑ์ด้านลักษณะเฉพาะของพื้นที่ ผลการวิจัยพบว่า พื้นที่ศึกษาวิจัย คือ ชุมชนบ้านวังวน อาเภอกันตัง จังหวัดตรัง ซึ่งมีอัตลักษณ์ของชุมชนที่น่าสนใจ ทั้งทางด้านภูมิศาสตร์ที่มีความโดดเด่น เป็นชุมชนริมลุ่มน้าปะเหลียน และมีทรัพยากรป่าจาก และป่าโกงกาง วิถีชีวิตของคนในชุมชนผสมผสานระหว่างไทยพุทธและไทยมุสลิม รูปแบบเศรษฐกิจในชุมชนบ้านวังวน ประกอบอาชีพการเก็บหอยปะ และผลิตสินค้าจากวัสดุเหลือใช้ (จาก) ซึ่งวัสดุเหลือใช้ จาก แสดงถึงอัตลักษณ์สถานที่ (Place Identity) ในตาบลวังวน อาเภอกันตัง จังหวัดตรัง โดยมีคุณลักษณะที่แท้จริงของสถานที่ ที่แสดงถึงวัฒนธรรมทางสังคมที่ถูกหลอมให้เกิดขึ้นมาใช้ในการยึดเป็นภูมิปัญญา ขนบธรรมเนียมประเพณีขึ้นมาในชุมชน ดังนั้นแนวทางในการออกแบบสถาปัตยกรรมชุมชน งานวิจัยฉบับนี้ใช้พื้นที่ท่าเรือ หมู่ 10 ในนาร่องการออกแบบพื้นที่สาธารณะให้กับชุมชน โดยชุมชนมีส่วนร่วมในกระบวนการออกแบบทั้งการระบุความต้องการ และมีส่วนร่วมในการเสนอแนวทางการออกแบบในเวทีชาวบ้าน ทาให้ชุมชนสามารถกาหนดอัตลักษณ์ของตนเอง เพื่อสร้างจุดแข็งให้ชุมชนและรองรับการท่องเที่ยวในลุ่มน้าปะเหลียน | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Rajamangala University of Technology Srivijaya | en_US |
dc.subject | อัตลักษณ์ชุมชน | en_US |
dc.subject | สถาปัตยกรรมชุมชน | en_US |
dc.subject | ลุ่มน้าปะเหลียน | en_US |
dc.subject | Community Identity | en_US |
dc.subject | Community Architecture | en_US |
dc.subject | Palian River Basin | en_US |
dc.title | การค้นหาอัตลักษณ์ของชุมชนเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบสถาปัตยกรรมและผังภูมิทัศน์ชุมชน พื้นที่ลุ่มน้้าปะเหลียน จังหวัดตรัง | en_US |
dc.title | Finding identity of community to architectural and urban landscape design guideline of Palian River Trang Province | en_US |
dc.type | Research Reports | en_US |
Files in this item
This item appears in the following Collection(s)
-
Research Reports [70]
รายงานการวิจัย