Show simple item record

dc.contributor.authorNanthip Hasin | นันทิพย์ หาสินen_US
dc.date.accessioned2021-07-08T14:25:20Z
dc.date.available2021-07-08T14:25:20Z
dc.date.issued2014
dc.identifier.urihttps://www.repository.rmutsv.ac.th/handle/123456789/3365
dc.description.abstractการศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสกัดสีธรรมชาติและการมัดย้อม ช่วงระหว่าง พ.ศ. 2546-2557 จำนวน 8 เรื่อง เป็นการสังเคราะห์ข้อมูลด้วยการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เนื้อหา ใช้วิธีพรรณนาวิเคราะห์ สรุปว่า การสกัดสีธรรมชาติจากพืช ส่วนใหญ่นิยมใช้การสกัดสีโดยการต้ม หรือการสกัดสีแบบร้อน พืชให้สีชนิดต่าง ๆ ได้จากพืชในท้องถิ่น โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืช ได้แก่ แก่นลำต้น เปลือก กิ่ง ใบ ผล และดอก โดยพืชแต่ละชนิดให้สีที่แตกต่างกัน โทนสีแดง ได้แก่ ครั่ง เมล็ดคำแสด แก่นฝาง เปลือกสมอ โทนสีเหลือง ได้แก่ หัวขมิ้นชัน แก่นไม้พุด ผลดิบ มะตูม ดอกผกากรอง ใบขี้เหล็ก และ แก่นขนุน โทนสีน้ำตาล ได้แก่ แก่นคูณ เปลือกผลทับทิม เปลือกไม้โกงกาง และเปลือกนนทรี โทนสีดำ ได้แก่ ผลมะเกลือ ใบกระเม็ง ผลมะกอกเลื่อม เปลือกรกฟ้า ผลตับเต่า และบัวสาย สารช่วยย้อมหรือสารกระตุ้นสีประเภทด่าง ได้แก่ น้ำปูใส และน้ำขี้เถ้า ประเภทกรด ได้แก่ น้ำสนิม และน้ำสารส้ม เทคนิคการมัดย้อม พบว่า เทคนิคที่ใช้ในการมัดย้อมที่ทำให้เกิดลวดลาย ใช้การมัดลายแบบพื้นฐาน มีขั้นตอน 6 วิธีคือ การพับแล้วมัด การพับแล้วเย็บ การม้วนแล้วมัด การห่อแล้วมัด การขยำแล้วมัด และการพับแล้วหนีบ นำมาผสมผสานกันจนเกิดลวดลายใหม่ๆ ที่สวยงามen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherRajamangala University of Technology Srivijayaen_US
dc.subjectการสกัดสีธรรมชาติen_US
dc.subjectเทคนิคมัดย้อมen_US
dc.subjectการมัดย้อมen_US
dc.titleการศึกษากระบวนการสกัดสีธรรมชาติจากพืช เพื่องานมัดย้อมen_US
dc.typeResearch Reportsen_US


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

  • Research Project [33]
    ปริญญานิพนธ์ (อนุญาติเฉพาะผู้ที่เข้าสู่ระบบเท่านั้น)

Show simple item record