การออกแบบและสร้างเตาชุบผิวแข็งแบบแพ็คคาร์บูไรซิ่ง
Design And Construction Surface Hardness By Pack Carburizing Heat Treatment Furnace
View/ Open
Date
2017Author
Piyavit Suwan | ปิยวิทย์ สุวรรณ
Jatuporn Jaidumrong | จตุพร ใจดำรงค์
Bunleng Kumket | บรรเลง คำเกตุ
Metadata
Show full item recordAbstract
การศึกษาการชุบผิวแข็งเหล็กกล้าคาร์บอนต ่า St.37 ด้วยวิธีแพ็คคาร์บูไรซิ งโดยใช้วัสดุที มีอยู่ในท้องถิ น ซึ งเป็นวัสดุทางเลือกที ให้ปริมาณคาร์บอนและทดแทนการใช้ถ่านโค้ก คือ ถ่านไม้โกงกาง ในกระบวนการชุบแข็งที ผิว โดยใช้ แคลเซียมคาร์บอเนต โซเดียมคาร์บอเนต และแบเรียมคาร์บอเนต เป็นสารตัวเร่งปฏิกิริยา ศึกษาอัตราส่วน ของถ่านไม้โกงกางต่อสารตัวเร่งปฏิกิริยา คือ 91 : 9 ทดลองชุบผิวแข็งโดยการน่าชิ้นงานทดสอบบรรจุใส่ในภาชนะ ทนความร้อนและเติมสารแพ็คคาร์บูไรซิ งที ผสมในแต่ละอัตราส่วนลงไปจนเต็มแล้วอัดให้แน่น ปิดฝา แล้วใช้ลวดมัด ให้แน่น น่าเข้าไปอบในเตาเผาที อุณหภูมิ950 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 ชั วโมง และเหล็กออกจากหีบแล้วน่าไปแช่ ในอ่างน้่าเพื อให้เย็นตัวอย่างรวดเร็วแล้วศึกษาผลของชนิดและปริมาณถ่านไม้โกงกางและสารตัวเร่งชนิดต่าง ๆ ต่อความแข็งของชิ้นงาน โดยการวัดความแข็งที ผิวหน้าชิ้นทดสอบและตรวจสอบระยะชั้นแข็งลึกด้วยเครื องทดสอบ ความแข็งแบบไมโครวิกเกอร์ซึ งพบว่า ผงถ่านไม้โกงกางผสมกับแบเรียมคาร์บอเนตเพียงอย่างเดียว ให้ค่าความแข็ง มากที สุด คือ 837 ความแข็งวิกเกอร์เมื อทดสอบหาค่าปริมาณองค์ประกอบทางเคมีด้วยเครื องวิเคราะห์ส่วนประกอบ ทางเคมีพบปริมาณคาร์บอนที ผิวสูงถึง 1.0 เปอร์เซ็นต์ ผลการวัดความแข็งที ระยะความแข็งลึกของชิ้นงานทดสอบ จะค่อย ๆ ลดลง เนื องจากปริมาณคาร์บอนที เปลี ยนแปลงไป ค่าส่าคัญ : แพ็คคาร์บูไรซิ ง สารเพิ มคาร์บอน สารตัวเร่งปฏิกิริยา
Collections
- Research Reports [155]