Show simple item record

Product development of nypa paper from nypa palm waste materials to Palian river basin Trang province.

dc.contributor.authorNoppadon Podkumnerd | นพดล โพชกำเหนิดen_US
dc.contributor.authorSupranee Wunsri | สุปราณี วุ่นศรีen_US
dc.contributor.authorTanwalai Rattanankij | ธัญวลัย รัศธนันกิจจ์en_US
dc.date.accessioned2021-07-20T14:32:15Z
dc.date.available2021-07-20T14:32:15Z
dc.date.issued2018
dc.identifier.urihttps://www.repository.rmutsv.ac.th/handle/123456789/3461
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตกระดาษจาก ซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้จากการผลิตใบจากสูบของชุมชนเลุ่มน้ำปะเหลี่ยน จากการศึกษาองค์ประกอบของสารลิกโนเซลลูโลสของเศษในและทางจาก พบว่าเศษใบจากมีเซ,ลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน ร้อยละ 39.91+-4.07, 49.59+-6.87 และ 10.50+-2.80 ตามลำดับ ส่วนทางจากมีเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน ร้อยละ 34.40+-5.51, 7.37+-3.69 และ 58.23+-9.20 ตามลำดับ เมื่อนำเยื่อที่ได้ไปผลิตเป็นกระดาษโดยใช้ชุดทดลอง 3 ชุด ได้แก่ 1)เศษใบจาก 2)ทางจาก และ 3) เศษใบจากผสมทางจาก และนำไปทดสอบคุณภาพของกระดาษ พบว่ากระดาษเศษใบจาก กระดาษเศษใบจากผสมทางจาก และ กระดาษทางจาก มความต้านทางแรงดึงต่อการฉีกขาดเท่ากับ 0.38+-0.05, 0.81+-0.07 และ 1.41+-0.05 นิวตัน ต่อตารางมิลลิเมตร ตามลำดับ ทั้งนี้กระดาษจากทั่ง 3 ชนิด มีการดูดซึมน้ำค่อนข้างสูง (4.9-6.9x10-4กรัมต่อตารางมิลลิเมตร) จึงทำการปรับปรุงโดยการเคลือบด้วยสารสะท้อนน้ำซึ่งทำให้การดูดซึมน้ำน้อยลง สามารถนำไปผลิตเป็นผลิตภัรฑ์ต่าง ๆ เพื่อเป็นสินค้าชุมชนต่อไปen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherRajamangala University of Technology Srivijayaen_US
dc.subjectการพัฒนากระบวนการผลิตen_US
dc.subjectการผลิตกระดาษen_US
dc.subjectใบจากen_US
dc.subjectชุมชนลุ่มน้ำปะเหลียนen_US
dc.titleการพัฒนาการผลิตกระดาษจากเศษใบจากสู่ชุมชนลุ่มน้ำปะเหลียน จังหวัดตรังen_US
dc.titleProduct development of nypa paper from nypa palm waste materials to Palian river basin Trang province.en_US
dc.typeResearch Reportsen_US


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record