คุณสมบัติทางกายภาพของเมล็ดข้าวพันธุ์พื้นเมืองในจังหวัดบุรีรัมย์
Physical Properties of Landrace Grains in Buriram Province
View/ Open
Date
2019Author
Karupakorn Laead-on | ครุปกรณ์ ละเอียดอ่อน
Arunrussamee Sangsila | อรุณรัศมี แสงศิลา
Metadata
Show full item recordAbstract
การสารวจข้าวพื้นเมืองในจังหวัดบุรีรัมย์พบว่ามีหลายสายพันธุ์เมื่อนาเมลดพันธุ์ข้าวพื้นเมืองจานวน 20 พันธุ์ มาวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพ โดยการสุ่มตัวอย่างเมลดพันธุ์ข้าวจานวน 3 ซ้าๆ ละ100 เมลด ตามแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ผลการวิเคราะห์พบว่า ลักษณะทางกายภาพของเมลดข้าวมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) ความยาวและความกว้างของข้าวเปลือก อยู่ในช่วง 8.18-10.73 และ 2.53-3.32 มิลลิเมตร น้าหนักของข้าวเปลือกเฉลี่ย 2.20-3.30 กรัม รูปร่างเมลดข้าวเปลือกส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ส่วนข้าวกล้องมีความยาวและความกว้าง อยู่ในช่วง 7.17-7.42 และ 2.23-2.77 มิลลิเมตร น้าหนักของข้าวกล้องเฉลี่ย 1.98-3.02 กรัม รูปร่างเมลดข้าวกล้องส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ค่าความสว่าง (L) ของข้าวเปลือกและข้าวกล้องอยู่ในช่วง 30.06-56.50 และ 17.36-64.41 ค่าสี a* ของข้าวเปลือกและข้าวกล้องอยู่ในช่วง 5.52-10.02 และ 1.97-13.20 และค่าสี b* ของข้าวเปลือกและข้าวกล้องอยู่ในช่วง 17.45-32.35 และ 2.44-21.95 ส่วนปริมาณท้องไข่เมลดข้าวพื้นเมืองส่วนใหญ่มีท้องไข่น้อย ระดับ 1 คือปริมาณบริเวณขาวขุ่นได้ไม่เกินร้อยละ 10 ซึ่งลักษณะสมบัติทางกายภาพนั้นมีประโยชน์เพื่อการประเมินคุณภาพข้าวและการสร้างมาตรฐานข้าวเพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรได้อนุรักษ์ข้าวพันธุ์เมืองไม่ให้เกิดการสูญหาย เพื่อความมั่นคงด้านอาหาร