การผลิตถ่านกัมมันต์จากวัสดุเหลือใช้จากต้นจากในแหล่งชุมชนลุ่มน้ำ ปะเหลียน จังหวัดตรัง
The study on the production of activated carbon from palm waste materials in Palain River Basin Community Trang Province.
View/ Open
Date
2018Author
Supranee Wunsri | สุปราณี วุ่นศรี
Warawood Duangsiri | วราวุฒิ ดวงศิริ
Noppadon Podkumnerd | นพดล โพชกำเหนิด
Metadata
Show full item recordAbstract
งานวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับสมบัติถ่านกัมมนต์ทางจาก โดยการใช้ทางจากของต้นจากไปเตรียมถ่านทางจากด้วยกระบวนการคาร์บอไนเวซัน และนำถ่านจากไปกระตุ้นทางเคมี ใช้เทคนิคการให้ความร้อยโดยการกลั่นไหลย้อนกลัยเพื่อหาภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมถ่านกัมมันต์ทางจาก โดยศึกษาชนิดของสารละลายความเข้มข้น อัตราส่วนระหว่างถ่านทางจากต่อสารกระตุ้น เวลาที่ใช้กระตุ้น และวิเคราะห์สมบัติในการดูดซับไอโอดีนและเมทธิลีนบลู จากการทดลองพบว่า ภาวะที่เหมาะสมสำหรับการเตรียมถ่านกัมมันต์ทางจาก เมื่อใช้ ZnZl2 ความเข้มข้นร้อยละ 30 ที่อัตราส่วนโดยน้ำหนักระหว่างของถ่านทางจากต่อสารกระตุ้น เป็น 1: 4 ใช้เวลาการกรุ้น 3 ชั่วโมง ที่ภาวะดังกล่าวได้ถ่านกัมมนต์ทางจากที่มีค่าการดูดซับไอโออีนสูงที่สุด เท่ากับ 659.90+-28.17 มิลลิกรัมต่อกรัม ซึ่งมีค่าสูงกว่าค่ามาตรฐานผลิตภัณฑ์อัตสาหกรรมจะต้องมีค่าการดูดซับไอโอดีนไม่ต่ำกว่า600มิลลิกรัมต่อกรับ และค่าการดูดซับเมทิลีนบลู เท่ากับ มีค่าการดูดซับสีเมทิลีนบลูได้ร้อยละ 96.54+-0.15 ใช้บริมาณถ่าน 1.0 กรัมต่อลิตร ซึ่งค่ามาตราฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมมีค่าเท่ากับร้อยละ 98.94 ใช้ปริมาณถ่าน 1.0กรัมต่อลิตร
Collections
- Research Reports [106]